วันจันทร์ที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2560

มลภาวะทางเสียง(Noise pollution)

มลภาวะทางเสียง(Noise pollution)



มลภาวะทางเสียง เป็นสภาวะที่มีการก่อให้เกิดเสียงที่มีการรบกวน อาจมาจากแหล่งกำเนิดเสียงต่างๆ ทั้งจากมนุษย์, สัตว์ หรือเครื่องจักรต่างๆ โดยหากเกิน 85 เดซิเบล จะเป็นอันตรายต่อหู ยิ่งถ้าเกิน 90 เดซิเบลจะเป็นอันตรายต่อหูอย่างมาก ดังนั้นไม่ควรเข้าใกล้บริเวณที่มีเสียงดังเกินจะรับได้
ทั้งนี้ แหล่งที่มาของเสียงภายนอกทั่วโลกส่วนใหญ่มาจากการก่อสร้างและระบบการขนส่ง รวมทั้ง เสียงรบกวนจากพาหนะยานยนต์, เครื่องบิน และรถไฟ หรือแม้แต่การวางผังเมืองที่ไม่ดีอาจก่อให้เกิดมลพิษทางเสียงได้เช่นกัน และทางด้านแหล่งอุตสาหกรรมข้างเคียง ตลอดจนการปลูกสร้างที่อยู่อาศัยก็อาจก่อให้เกิดมลพิษทางเสียงในพื้นที่บริเวณที่อยู่อาศัยได้เช่นกัน


Noise pollution A situation that has caused a noise disturbance. May come from various noise sources. Both humans, animals or machines by up to 85 decibels will harm hearing if it exceeds 90 decibels will harm hearing dramatically. So, do not go near the area where noise exceeds acceptable.

The source of the external world, mainly from the construction and transportation systems as well as noise from motor vehicles, trains, planes and even the urban poor may cause noise pollution as well. And the industrial side. As well as the building housing it could cause noise pollution in residential areas as well. 


ภาวะมลพิษทางเสียง(Origin noise pollution)


http://www.thaihealth.or.th/data/content/2009/02/12443/cms/


แหล่งกำเนิดภาวะมลพิษทางเสียงต่างๆ มีดังนี้


http://www.scimath.org/images/uploads/upload1/

 1. การจราจร มาจากยานพาหนะประเภทต่างๆ เช่น รถไฟ รถยนต์ รถจักรยานยนต์ รถบรรทุก เรือหางยาว และเครื่องบิน เป็นต้น

       The traffic of vehicles, such as trains, trucks, cars, motorcycles, aircraft, boat and so on.



http://www.xn--42c6bf5au3d0c.com/data/
         

           2. สถานประกอบการต่างๆ ได้แก่ โรงงานอุตสาหกรรม การก่อสร้าง อู่ซ่อมรถ เป็นต้น
            
                Establishments include industrial construction, repair shop and so on.





            3. ชุมชนและสถานบริการ ได้แก่ เสียงจากคนหรือเครื่องใช้ภายในบ้าน เช่น วิทยุ โทรทัศน์ และเสียงในย่านธุรกิจการค้า สถานบันเทิงเริงรมย์ เป็นต้น
ระดับเสียงจากกิจกรรมต่าง ๆ 

              Community facilities and services include audio or home appliances such as radio, television and audio in the central business district locations, entertainment and so on.
The volume of activities.


ผลกระทบจากภาวะมลพิษทางเสียง (The impact of noise pollution.)

            1. ผลกระทบต่อการได้ยิน แบ่งเป็น 3 ลักษณะคือ

               - หูหนวกทันที เกิดขึ้นจากการที่อยู่ในบริเวณที่มีเสียงดังเกิน 120 เดซิเบลเอ

               - หูอื้อชั่วคราว เกิดขึ้นเมื่ออยู่ในที่มีระดับเสียงดังตั้งแต่ 80 เดซิเบลเอขึ้นไปในเวลาไม่นานนัก

               - หูอื้อถาวร เกิดขึ้นเมื่ออยู่ในบริเวณที่มีระดับความดังมากเป็นเวลานานๆ
http://www.prachachat.net/online/2016/07/
            2. ด้านสรีระวิทยา เช่น ผลกระทบต่อระบบการหมุนเวียนของเลือด ต่อมไร้ท่อ อวัยวะสืบพันธุ์ ระบบประสาท และความผิดปกติของระบบการหดและบีบลำไส้ใหญ่ เป็นต้น

            3. ด้านจิตวิทยา เช่น สร้างความรำคาญ ส่งผลต่อการนอนหลับพักผ่อน ผลต่อการทำงานและการเรียนรู้ รบกวนการสนทนาและการบันเทิง

            4. ด้านสังคม กระทบต่อการสร้างมนุษยสัมพันธ์ที่ดี ทำให้ขาดความสงบ

            5. ด้านเศรษฐกิจ มีผลผลิตต่ำเนื่องจากประสิทธิภาพการทำงานลดลง เสียค่าใช้จ่ายในการควบคุมเสียง

            6. ด้านสิ่งแวดล้อม เสียงดังมีผลต่อการดำรงชีวิตของสัตว์ เช่น ทำให้สัตว์ตกใจและอพยพหนี 

            
            1. The impact of hearing into three types.

               - Sudden deafness occur in the vicinity of the noise over 120 decibels.

               - Temporary tinnitus What happens when, in a volume of 80 decibels or more in a short time.

               - Permanent tinnitus occurs when in areas where the volume is a very long time.

            2. physiological side effects such as blood circulation, endocrine, reproductive and neurological disorders of the colon to contract and squeeze so.

            3. psychology as a nuisance. Affect sleep. Affect the work and learning. Interfere with the conversation and entertainment

            4. The social impact of building a good relationship. Given the lack of peace

            5. The economy has low productivity due to reduced performance. Cost control sound.

            6. Environment Noise affects the lives of animals as the animals panicked and fled.

https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEjKR84277V4kuyYiWeHzHNFTHpSVQIrQHO76eybwMiSDCv6pE-a1gGwpmlL8G_vqP3HFNA2w1qPp_ZuizHZStqkZlwx_3-fjE6zscEYR4Re0Zvc4Ypuj_1ee3H6Bi3Z3KT1c87b9gqhV8DG/s1600/



การป้องกันและแก้ไขภาวะมลพิษทางเสียง (Prevention and noise pollution)

            1.  กำหนดให้มีมาตรฐานควบคุมระดับความดังของเสียงทุกประเภท

            2. ควบคุมระดับเสียงจากแหล่งกำเนิดให้อยู่ในระดับที่ได้มาตรฐานตามที่กฎหมายกำหนด โดยการ ใช้กระบวนการผลิตที่ไม่ใช้เสียงดัง บุผนังห้องด้วยวัสดุลดเสียง หรือกำแพงกั้นเสียง

            3. ผู้ที่อยู่ในบริเวณที่มีแหล่งกำเนิดเสียงดังควรใช้วัสดุป้องกันการได้ยินเสียงดัง เช่น เครื่องอุดหู เครื่องครอบหู เป็นต้น

            4. กำหนดเขตการใช้ที่ดินประเภทที่ก่อให้เกิดเสียงดังรำคาญ ให้อยู่ห่างจากสถานที่ที่ต้องการความสงบเงียบ เช่น ชุมชนพักอาศัย โรงเรียน โรงพยาบาล วัด เป็นต้น เพื่อเพิ่มระยะทางระหว่างแหล่งกำเนิดเสียงกับชุมชน หรือให้มีเขตกันชนเพื่อลดความดังของเสียง

            5. เข้มงวดกับการใช้มาตรการลดผลกระทบจากกิจกรรมการก่อสร้างต่างๆ

            6. ยกเว้นหรือลดภาษีในกิจกรรมหรือวัสดุอุปกรณ์สำหรับควบคุมและป้องกันภาวะมลพิษทางเสียง

            7. ให้การศึกษาและฝึกอบรมด้านภาวะมลพิษทางเสียงแก่ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง

            8. สนับสนุนงานวิจัยเกี่ยวกับการป้องกัน ควบคุมและแก้ไขภาวะมลพิษทางเสียง

            9. สร้างเครือข่ายตรวจสอบและเฝ้าระวังแหล่งกำเนิดภาวะมลพิษภายในชุมชน

            10. รณรงค์และประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนรู้ถึงอันตรายจากภาวะมลพิษทางเสียง และร่วมมือกันป้องกันมิให้เกิดมลพิษทางเสียง

            
           1. The standard control the volume of all types.

            2. Control the volume from the source to levels that comply with the law by using a manufacturing process that does not use noise. Lining the walls with sound reduction material. Or sound barrier

            3. People who live in areas where the noise source should be used hearing protection such as earplugs and noise ear protectors etc.

            4. zoning, land use types that cause noise nuisance. To stay away from places like the quiet, residential community, such as schools, hospitals, etc. to measure the distance between the sound source community. Or a buffer zone to reduce the noise.

            5. austerity measures to reduce the impact of various construction activities.

            6. Tax exemption or reduction in activity or equipment for the control and prevention of noise pollution.

            7. To provide education and training to the noise pollution is involved.

            8. Research on prevention. Control and address serious noise pollution.

            9. Create a network monitoring and surveillance sources of pollution within the community.

            10. Campaign for the public to know the dangers of noise pollution. And work together to prevent noise pollution.




จัดทำโดย 
นาย ธนกฤต  ศรีมูล       ชั้น5/1 เลขที่ 5
นาย นัฐพล  นามคำ       ชั้น5/1 เลขที่ 12
นาย ภัสกร  อานันทสุวัน ชั้น5/1 เลขที่ 2



อ้างอิง 
https://goo.gl/ul6bpJ
https://goo.gl/d3FMBp
https://goo.gl/JIzXBJ